ข้อมูลประจำปี 2567
หมวดที่ 1 การกำหนดนโยบาย การวางแผนการดำเนินงาน และปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
หมวด/ตัวชี้วัด | เอกสารอ้างอิง |
---|---|
1.1 การกำหนดนโยบายสิ่งแวดล้อม | |
1.1 .1 มีบริบทองค์กรและขอบเขตของการจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน (1) มีการกำหนดขอบเขตพื้นที่ของสำนักงาน
(2) มีการกำหนดขอบเขตกิจกรรมของสำนักงาน |
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศและศูนย์ภาษามีการกำหนดบริบทองค์กรและขอบเขตของการจัดการสิ่งแวดล้อมภายในอาคาร ดังนี้ 1. ขอบเขตพื้นที่ของสำนักงาน สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ และศูนย์ภาษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ตั้งอยู่ ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม (อาคาร 15) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เลขที่ 398 หมู่ 9 ต.นครสวรรค์ตก อ.เมืองนครสวรรค์ จ.นครสวรรค์ โดยมีลักษณะเป็นอาคาร 4 ชั้น คิดเป็นพื้นที่ 12,650 ตารางเมตร แบ่งเป็น 1) พื้นที่ภายในอาคาร ขนาด 8,540 ตารางเมตร 2) พื้นที่รอบอาคารที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วยลานจอดรถและพื้นที่สีเขียว ขนาด 4,110 ตารางเมตร 2. ขอบเขตกิจกรรมของสำนักงาน กิจกรรมภายในขอบเขตพื้นที่ของสำนักงานที่ขอรับการประเมินของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ และศูนย์ภาษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ แบ่งเป็น 1) กิจกรรมภายในอาคาร ได้แก่ (ก) งานสำนักงาน เช่น การพิมพ์เอกสาร การถ่ายเอกสาร การจัดซื้อจัดจ้าง (ข) งานบริการ เช่น การสอบประกันคุณภาพด้านคอมพิวเตอร์การสอบประกันคุณภาพภาษาอังกฤษ การให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (ค) การจัดประชุม (ง) การเรียนการสอน (จ) การรับประทานอาหารของบุคลากร (ฉ) การทำธุระส่วนตัว (ช) การควบคุมการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายของมหาวิทยาลัย 2) กิจกรรมภายนอกอาคาร ได้แก่ (ก) จุดรวมพล (ข) ลานจอดรถ (ค) พื้นที่รองรับของเสีย (ง) พื้นที่สีเขียว หมวดที่ 1 การกำหนดนโยบาย การวางแผนการดำเนินงาน และการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง... มีการกำหนดนโยบายสิ่งแวดล้อมจากผู้บริหารระดับสูง และแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาระบบบริหารจัดการภายในองค์กร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 กิจกรรมเรื่อง การอบรมความรู้ความเข้าใจเพื่อการดำเนินงานสำนักงานสีเขียวให้แก่บุคลากร มีการกำหนดนโยบายสิ่งแวดล้อมจากผู้บริหารระดับสูง และแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาระบบบริหารจัดการภายในองค์กร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 กิจกรรมเรื่อง การอบรมความรู้ความเข้าใจเพื่อการดำเนินงานสำนักงานสีเขียวให้แก่บุคลากร มีการกำหนดนโยบายสิ่งแวดล้อมจากผู้บริหารระดับสูง และแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาระบบบริหารจัดการภายในองค์กร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 กิจกรรมเรื่อง การอบรมความรู้ความเข้าใจเพื่อการดำเนินงานสำนักงานสีเขียวให้แก่บุคลากร |
1.1 .2 นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องและครอบคลุมประเด็นตามเกณฑ์สำนักงานสีเขียวโดยแสดงความมุ่งมั่นอย่างต่อเนื่อง (1) นโยบายสิ่งแวดล้อมจะต้องได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารสูงสุด/ผู้ที่ได้รับมอบอำนาจ
(2) มีการระบุวันที่การประกาศใช้นโยบายสิ่งแวดล้อมอย่างชัดเจน (3) ผู้บริหาร/ผู้มีอำนาจ จะต้องสามารถอธิบายถึงวัตถุประสงค์และจุดมุ่งหมายด้านสิ่งแวดล้อมของสำนักงาน (4) ผู้บริหาร/ผู้มีอำนาจ จะต้องมีส่วนในการติดตามผลการปฏิบัติตามนโยบายสิ่งแวดล้อมของสำนักงาน |
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศร่วมกับศูนย์ภาษา ได้มีการกำหนดนโยบายสิ่งแวดล้อมของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ และศูนย์ภาษา เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและพลังงานของหน่วยงาน โดยจัดทำเป็นประกาศของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ลงนามโดยอธืการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2567 และนำเข้าที่ประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักวิทยบริการฯ เพื่อแจ้งให้บุคลากรทุกหน่วยงานย่อยภายในทราบและปฏิบัติตามแนวนโยบาย
นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ และศูนย์ภาษา-...
มีการกำหนดนโยบายสิ่งแวดล้อมจากผู้บริหารระดับสูง และแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาระบบบริหารจัดการภายในองค์กร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 กิจกรรมเรื่อง การอบรมความรู้ความเข้าใจเพื่อการดำเนินงานสำนักงานสีเขียวให้แก่บุคลากร |
1.1 .3 การกำหนดนโยบายสิ่งแวดล้อมจากผู้บริหารระดับสูง (1) การปรับปรุงระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง
(2) การควบคุม ป้องกัน ลดผลกระทบด้านการใช้ทรัพยากร พลังงาน และมลพิษ/ของเสีย รวมไปถึงการจัดซื้อ/จัดจ้าง และบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อนำไปสู่การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (3) การปฏิบัติตามกฎหมายและเกณฑ์การเป็นสำนักงานสีเขียวของกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม (4) การสร้างความรู้และความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมกับผู้เกี่ยวข้อง |
มีการกำหนดนโยบายสิ่งแวดล้อมจากผู้บริหารระดับสูง และแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาระบบบริหารจัดการภายในองค์กร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 กิจกรรมเรื่อง การอบรมความรู้ความเข้าใจเพื่อการดำเนินงานสำนักงานสีเขียวให้แก่บุคลากร
แต่งตั้งคณะกรรมการ-โครงการอบรมความรู้ความเข้าใจเพื่อการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว...
|
1.1 .4 มีการกำหนดแผนการดำเนินงานสำนักงานสีเขียวประจำปี (1) รายละเอียดของแผนจะต้องระบุการดำเนินงานครบถ้วนทุกหมวด
(2) มีการกำหนดเวลาหรือความถี่ของการดำเนินการของแต่ละหมวด (3) มีการกำหนดแผนดำเนินการเป็นลายลักษณ์อักษร และได้รับการอนุมัติจากผู้บริหาร |
มีการกำหนดแผนในการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว มีการดำเนินงานให้ครบถ้วนทุกหมวด และมีการมอบหมายให้บุคลากรรับผิดชอบการดำเนินงานในแต่ละหมวด
แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินโครงการสำนักงานสีเขียว (Green Office) สำนักวิทยบริการและ...
|
1.1 .5 มีการกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดที่ชัดเจน ด้านการใช้ทรัพยากร พลังงาน และของเสีย และปริมาณก๊าซเรือนกระจก (1) การใช้ไฟฟ้า
(2) การใช้น้ำมันเชื้อเพลิง (3) การใช้น้ำ (4) การใช้กระดาษ (5) ปริมาณของเสีย (6) ปริมาณก๊าซเรือนกระจก |
มีการกำหนดนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม และเป้าหมายที่ชัดเจนในการดำเนินงานด้านการใช้ทรัพยากร พลังงาน และของเสีย และปริมาณก๊าซเรือนกระจก
นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ และศูนย์ภาษา-14 มีนาคม ...
|
1.2 คณะทำงานด้านสิ่งแวดล้อม | |
1.2 .1 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ/ทีมงานด้านสิ่งแวดล้อม โดยมีแนวทางดำเนินงาน (1) ผู้บริหารแต่งตั้งคณะกรรมการ/ทีมงานด้านสิ่งแวดล้อมของสำนักงานอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร และลงนามอนุมัติโดยคณะกรรมการ/ทีมงาน จะต้องครอบคลุมทุกหมวด และบุคลากร/ผู้แทนจากทุกฝ่ายในหน่วยงาน
(2) กำหนดอำนาจ บทบาท หน้าที่รับผิดชอบของคณะกรรมการอย่างชัดเจน |
มีการกำหนดแผนในการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว โดยแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินโครงการสำนักงานสีเขียว (Green Office) สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ และศูนย์ภาษา ให้รับผิดชอบการดำเนินงานตามหมวดที่ได้รับมอบหมาย ท้ง 6 หมวด
แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินโครงการสำนักงานสีเขียว (Green Office) สำนักวิทยบริการและ...
|
1.2 .2 ร้อยละของคณะกรรมการ/ทีมงานด้านสิ่งแวดล้อมที่มีความเข้าใจในบทบาทและหน้าที่ รับผิดชอบประเมินจากการสุ่มสอบถาม (1) ประธาน/หัวหน้า
(2) คณะกรรมการ/ทีมงานทางด้านสิ่งแวดล้อมที่รับผิดชอบทุกหมวด (สามารถมอบหมายให้ผู้ตรวจประเมินแต่ละหมวดสุ่มสอบถามได้) |
มีการแต่งตั้งคณะกรรมการและคณะทำงานโครงการสำนักงานสีเขียวของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศและศูนย์ภาษา อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ครอบคลุมทุกหมวด ตามคำสั่งมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ลงวันที่ 14 มีนาคม 2567
นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ และศูนย์ภาษา-14 มีนาคม ...
|
1.3 การระบุประเด็นปัญหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม | |
1.3 .1 กิจกรรมทั้งหมดของสำนักงานภายใต้ขอบเขตการขอการรับรองสำนักงานสีเขียวจะต้องได้รับการระบุและประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อม (1) มีการรวบรวมกิจกรรมของสำนักงานครบถ้วน
(2) มีการกำหนดผู้รับผิดชอบเหมาะสมและมีความเข้าใจ (3) ระบุการใช้พลังงาน ทรัพยากร วัตถุดิบ มลพิษและของเสียของแต่ละกิจกรรมจะต้องครบถ้วน (4) ระบุปัญหาสิ่งแวดล้อมทางตรงและทางอ้อมครบถ้วน (5) ระบุปัญหาสิ่งแวดล้อมสภาวะปกติ ผิดปกติและฉุกเฉินครบถ้วน (6) มีการพิจารณากฎหมายสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับปัญหาสิ่งแวดล้อมนั้นๆ อย่างครบถ้วนและถูกต้อง (7) การประเมินเพื่อจัดลำดับความสำคัญของปัญหาสิ่งแวดล้อม (8) มีหลักฐานการกำหนดระยะเวลาในการทบทวน การระบุประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อม การใช้ทรัพยากรและพลังงานอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (9) กรณีมีการปรับแผน/กิจกรรม หรือมีกิจกรรมเพิ่มเติม (เช่น มีแผนที่จะก่อสร้างอาคาร หรือเพิ่มเติมกิจกรรมของสำนักงานในอนาคตอันใกล้ เป็นต้น) จะต้องระบุกิจกรรมดังกล่าวด้วย (ถ้ามี) |
มีการประชุมร่วมกันของคณะกรรมการบริหาร และคณะทำงาน เพื่อระบุประเด็นปัญหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเพื่อกำหนดกิจกรรมและขอบเขตการขอการรับรองสำนักงานสีเขียวในภาพรวมของหน่วยงานที่ตั้งอยู่ภายในอาคาร 15 |
1.3 .2 การวิเคราะห์และแนวทางการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ (1) มีสรุปรายการปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ
(2) กำหนดมาตรการ คู่มือ หรือแนวทางปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ (3) ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสาคัญมีการดำเนินการตามมาตรการ คู่มือ หรือแนวทางการแก้ไขครบถ้วน (4) กำหนดมาตรการคู่มือ/แนวทางปฏิบัติ เพื่อป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดในสภาวะผิดปกติและสภาวะฉุกเฉิน (5) ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดในสภาวะผิดปกติและสภาวะฉุกเฉินมีการดำเนินการตามมาตรการคู่มือ/แนวทางการป้องกันครบถ้วน |
มีการวิเคราะห์ปัญหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหาร่วมกันของคณะทำงาน |
1.4 กฎหมาย และข้อกำหนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง | |
1.4 .1 มีการรวบรวมกฎหมายสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องกับสำนักงาน โดยมีแนวทางการดำเนินงาน (1) ผู้รับผิดชอบมีความเข้าใจในการรวบรวมกฎหมายสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง
(2) จัดทำรายการกฎหมายที่ครอบคลุมปัญหาสิ่งแวดล้อมและบริบทของสำนักงาน (3) สามารถระบุแหล่งที่มาของกฎหมายและข้อกำหนดข้อกำหนดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้ (4) สามารถระบุความเกี่ยวข้องของกฎหมายกับประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อมได้ (5) กฎหมายสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องจะต้องเป็นปัจจุบัน (6) มีการรวบรวมและทบทวนกฎหมายอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง |
มีการมอบหมายให้ผู้รับผิดชอบในการรวบรวมกฎหมายสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง เพื่อกำหนดนโยบายและแนวทางในการดำเนินงานร่วมกันในลำดับต่อไป |
1.4 .2 ประเมินความสอดคล้องของกฎหมายกับการดำเนินงานการจัดการสิ่งแวดล้อมของสำนักงาน (1) ผู้รับผิดชอบมีความเข้าใจในการประเมินความสอดคล้องของกฎหมายกับการดำเนินงานการจัดการสิ่งแวดล้อม
(2) มีการประเมินความสอดคล้องของกฎหมายครบถ้วน (3) มีการอ้างอิงหลักฐานการปฏิบัติตามกฎหมายอย่างครบถ้วนและถูกต้อง กรณีที่พบว่าการดำเนินงานไม่สอดคล้องกับกฎหมาย จะต้องมีการวิเคราะห์สาเหตุและกำหนดแนวทางแก้ไข (ถ้ามี) (4) มีการกำหนดความถี่ในการประเมินความสอดคล้องของกฎหมายอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ที่เหมาะสมและมีการปฏิบัติตามที่กำหนดได้ |
มีการประเมินความสอดคล้องของกฎหมายกับการดำเนินงานการจัดการสิ่งแวดล้อมของหน่วยงาน |
1.5 ข้อมูลก๊าซเรือนกระจก | |
1.5 .1 การเก็บข้อมูลก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมในสำนักงาน (1) ปริมาณการใช้ไฟฟ้า
(2) ปริมาณการใช้เชื้อเพลงสำหรับการเดินทาง (3) ปริมาณการใช้น้ำประปา (4) ปริมาณการใช้กระดาษ (5) ปริมาณการเกิดของเสีย (ผังกลบ) (6) ปริมาณการใช้กระดาษ |
มีการเก็บรวบรวมข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้า การใช้น้ำ และการใช้กระดาษ ตลอดทั้งปี พบว่าปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาพรวมจากการใช้ไฟฟ้า น้ำประปา กระดาษ และขยะที่นำไปฝังกลบ เท่ากับ 186.64 ตันเทียบเท่า CO2 ต่อปี โดยมาจากการใช้ไฟฟ้ามากที่สุด เท่ากับ 181.80 ตันเทียบเท่า CO2 |
1.5 .2 ปริมาณก๊าซเรือนกระจกบรรลุเป้าหมาย (1) กรณีบรรลุเป้าหมาย
(2) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (3) กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย (4) มีการวิเคราะห์สาเหตุในกรณีที่ไม่บรรลุเป้าหมาย (5) ปริมาณการใช้กระดาษ (6) มีแนวทางการแก้ไขในกรณีที่ไม่บรรลุเป้าหมาย (7) มีการติดตามผลหลังแก้ไข |
มีการวิเคราะห์หาวิธีการในการลดปริมาณการใช้กระดาษเพื่อลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกภายในหน่วยงาน |
1.5 .3 ร้อยละของพนักงานมีความเข้าใจและการรับรู้ปริมาณก๊าซเรือนกระจกของสำนักงาน โดยจะต้องสอบถาม (1) ความสำคัญของก๊าซเรือนกระจกกับการทำสำนักงานสีเขียว
(2) แนวทางการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (3) ปริมาณก๊าซเรือนกระจกของสำนักงานเมื่อเปรียบเทียบกับค่าเป้าหมาย |
มีการจัดอบรมให้ความรู้แก่บุคลากร ให้แก่บุคลากร เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2566 เรื่อง “การสื่อสารและสร้างจิตสำนึกพัฒนาสู่สำนักงานสีเขียว (Green Office)” ซึ่งมีหัวข้อการบรรยายครอบคลุมเรื่องการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก (climate change) และก๊าซเรือนกระจก และจัดอบรมให้ความรู้ความเข้าใจเพื่อการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2567 |
1.6 แผนงานโครงการที่นำไปสู่การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง | |
1.6 .1 การกำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการสิ่งแวดล้อม จะต้องมีการดำเนินการดังนี้ (1) วัตถุประสงค์ เป้าหมาย จะต้องสอดคล้องกับนโยบายสิ่งแวดล้อม หรือปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ หรือกฎหมายสิ่งแวดล้อม
(2) วัตถุประสงค์ เป้าหมาย สามารถวัดผลได้ (3) กิจกรรม/นวัตกรรมที่กำหนดในโครงการสิ่งแวดล้อมมีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และเป้าหมาย (4) ระยะเวลาการทำโครงการมีความเหมาะสม (5) โครงการมีการกำหนดผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน และจะต้องมีความเข้าใจ |
มีการกำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการในการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว และกำหนดผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจนครบทุกหมวด มีการกำหนดแผนการดำเนินกิจกรรมตามโครงการเพื่อให้เสร็จสิ้นและบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนด |
1.6 .2 ผลสำเร็จของวัตถุประสงค์และเป้าหมาย แนวทางการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน (1) มีแผนการดำเนินโครงการหรือนวัตกรรมที่ชัดเจน
(2) ดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้อย่างต่อเนื่อง (3) มีการกำหนดความถี่ในการติดตามผลและปฏิบัติตามอย่างต่อเนื่อง (4) มีการติดตามความก้าวหน้าของโครงการ (5) ดำเนินการเสร็จสิ้นและบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนด / กรณีที่ไม่บรรลุเป้าหมายมีการทบทวนเพื่อหาสาเหตุและแนวทางแก้ไข (6) มีการกำหนดแนวทางเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืนหลังบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนด |
มีการกำหนดนโยบาย แผนการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ตั้งไว้ |
1.7 การตรวจประเมินสำนักงานสีเขียวภายในสำนักงาน (สำหรับหน่วยงานต่ออายุ) | |
1.7 .1 การวางแผนและดำเนินการตรวจประเมินสำนักงานสีเขียวภายในสานักงาน (1) มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินสำนักงานสีเขียวภายในสำนักงานประกอบด้วยหัวหน้าผู้ตรวจประเมินและผู้ตรวจประเมิน ซึ่งจะต้องผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว และหลักสูตรการตรวจประเมินสำนักงานสีเขียว
(2) มีการกำหนดความถี่ในการตรวจประเมินสำนักงานสีเขียวภายในสำนักงานอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง (3) มีการจัดทำกำหนดการตรวจประเมินภายในครอบคลุมทุกหมวด (4) กำหนดผู้ตรวจประเมินภายในแต่ละหมวดมีความเพียงพอและเหมาะสม มีความเป็นอิสระในการตรวจประเมินอย่างชัดเจน (5) การดำเนินการตรวจประเมินสำนักงานสีเขียวภายในสำนักงานครบถ้วนทุกหมวด |
มีการกำหนดแผนงานในการดำเนินกิจกรรมตามโครงการสำนักงานสีเขียวเพื่อยื่นสมัครเข้ารับการประเมิน แต่ยังไม่มีการตรวจประเมินภายในเนื่องจากเป็นช่วงระยะการเริ่มต้นในปีแรก |
1.8 การทบทวนฝ่ายบริหาร | |
1.8 .1 การกำหนดองค์ประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร (1) มีผู้บริหารเข้าร่วมประชุม
(2) มีตัวแทนของแต่ละฝ่าย/แผนก/ส่วนงานที่มีความเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานในแต่ละหมวดเข้าร่วมประชุม (3) จำนวนผู้เข้าร่วมการประชุมจะต้องมากกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนผู้ที่เป็นคณะกรรมการสำนักงานสีเขียว พร้อมหลักฐานการลงนามเข้าร่วมประชุม (4) หากผู้ที่จะต้องเข้าประชุมไม่สามารถเข้าร่วมได้ จะต้องมีวิธีการรายงานผลการประชุมให้รับทราบ พร้อมรับข้อเสนอแนะ |
มีการประชุมทบทวนการดำเนินงานร่วมกัน โดยตัวแทนของคณะทำงานในแต่ละหมวด และรายงานความคืบหน้าในการดำเนินงานต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักวิทยบริการฯ เพื่อรับทราบ |
1.8 .2 มีการกำหนดวาระการประชุม และทำการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร (1) มีการประชุมทบทวนฝ่ายบริหารอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
(2) วาระที่ 1 การติดตามผลการดำเนินงานปรับปรุงระบบฯที่ผ่านมา (3) วาระที่ 2 นโยบายสิ่งแวดล้อม (4) วาระที่ 3 ความมีประสิทธิภาพของคณะกรรมการหรือทีมงานด้านสิ่งแวดล้อม(ความเพียงพอและความเหมาะสม) (5) วาระที่ 4 การติดตามผลการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม การสื่อสารและข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม การปฏิบัติตามกฎหมาย รวมถึงแนวทางการแก้ไขปรับปรุงและพัฒนา (6) วาระที่ 5 การเปลี่ยนแปลงที่จะส่งผลกระทบต่อความสาเร็จในการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม (7) วาระที่ 6 ข้อเสนอแนะจากที่ประชุม และวิสัยทัศน์ แนวคิดของผู้บริหารของการดำเนินงานสำนักงานสีเขียวอย่างต่อเนื่อง (8) จัดทำรายงานการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร และภาพถ่ายที่แสดงให้เห็นว่ามีการประชุมจริง |
มีการรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการสำนักงานสีเขียวต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักวิทยบริการฯ เพื่อรับทราบ และมีการทบทวน ให้คำแนะนำในการดำเนินกิจกรรมผ่านที่ประชุมเพื่อแก้ไขและปรับปรุง |
ข้อมูลประจำปี 2566
หมวดที่ 1 การกำหนดนโยบาย การวางแผนการดำเนินงาน และปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
หมวด/ตัวชี้วัด | เอกสารอ้างอิง |
---|---|
1.1 การกำหนดนโยบายสิ่งแวดล้อม | |
1.1 .1 มีบริบทองค์กรและขอบเขตของการจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน (1) มีการกำหนดขอบเขตพื้นที่ของสำนักงาน
(2) มีการกำหนดขอบเขตกิจกรรมของสำนักงาน |
หมวด 5 ข้อ 5.4(1) แผนการดูแลพื้นที่แต่ละชั้นของสำนักงานประจำปี...
ประกาศสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เรื่อง แนวปฏิบัติตามมาตรการสำนักงานสีเขียว (Green Office) สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ แนวปฏิบัติตามมาตรการสำนักงานสีเขียว (Green Office) สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศและศูนย์ภาษามีการกำหนดบริบทองค์กรและขอบเขตของการจัดการสิ่งแวดล้อมภายในอาคาร ดังนี้1. ขอบเขตพื้นที่ของสำนักงาน สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ และศูนย์ภาษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ตั้งอยู่ ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม (อาคาร 15) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เลขที่ 398 หมู่ 9 ต.นครสวรรค์ตก อ.เมืองนครสวรรค์ จ.นครสวรรค์ โดยมีลักษณะเป็นอาคาร 4 ชั้น คิดเป็นพื้นที่ 12,650 ตารางเมตร แบ่งเป็น 1) พื้นที่ภายในอาคาร ขนาด 8,540 ตารางเมตร 2) พื้นที่รอบอาคารที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วยลานจอดรถและพื้นที่สีเขียว ขนาด 4,110 ตารางเมตร 2. ขอบเขตกิจกรรมของสำนักงาน กิจกรรมภายในขอบเขตพื้นที่ของสำนักงานที่ขอรับการประเมินของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ และศูนย์ภาษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ แบ่งเป็น 1) กิจกรรมภายในอาคาร ได้แก่ (ก) งานสำนักงาน เช่น การพิมพ์เอกสาร การถ่ายเอกสาร การจัดซื้อจัดจ้าง (ข) งานบริการ เช่น การสอบประกันคุณภาพด้านคอมพิวเตอร์การสอบประกันคุณภาพภาษาอังกฤษ การให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (ค) การจัดประชุม (ง) การเรียนการสอน (จ) การรับประทานอาหารของบุคลากร (ฉ) การทำธุระส่วนตัว (ช) การควบคุมการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายของมหาวิทยาลัย 2) กิจกรรมภายนอกอาคาร ได้แก่ (ก) จุดรวมพล (ข) ลานจอดรถ (ค) พื้นที่รองรับของเสีย (ง) พื้นที่สีเขียว หมวดที่ 1 การกำหนดนโยบาย การวางแผนการดำเนินงาน และการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง สำนักวิทยบริการฯ ได้จัดทำประกาศ แนวปฏิบัติสำนักงานสีเขียว (Green Office) ของหน่วยงานเพื่อให้ถือปฏิบัติ พื้นที่จัดวางถังขยะ โดยมีการแยกขยะแต่ละประเภท รวมถึงขยะอินทรีย์ 3.1.1 มาตราการหรือแนวทางใช้น้ำมีความเหมาะสมกับสำนักงานสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ได้เล็งเห้นความสำคัญของการจัดการสิ่งแวดล้อม จึงได้ออกประกาศมาตรการ แนวทางการใช้น้ำ และสร้างความตระหนัก โดยมีรายละเอียดดังแนบ - ประกาศสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง สำนักงานสีเขียว บัญชีรายชื่อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม หนังสือขอความร่วมมือในการสั่งซื้อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม |
1.1 .2 นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องและครอบคลุมประเด็นตามเกณฑ์สำนักงานสีเขียวโดยแสดงความมุ่งมั่นอย่างต่อเนื่อง (1) นโยบายสิ่งแวดล้อมจะต้องได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารสูงสุด/ผู้ที่ได้รับมอบอำนาจ
(2) มีการระบุวันที่การประกาศใช้นโยบายสิ่งแวดล้อมอย่างชัดเจน (3) ผู้บริหาร/ผู้มีอำนาจ จะต้องสามารถอธิบายถึงวัตถุประสงค์และจุดมุ่งหมายด้านสิ่งแวดล้อมของสำนักงาน (4) ผู้บริหาร/ผู้มีอำนาจ จะต้องมีส่วนในการติดตามผลการปฏิบัติตามนโยบายสิ่งแวดล้อมของสำนักงาน |
ในปี พ.ศ. 2566 สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศได้มีการกำหนดนโยบายสำนักงานสีเขียวเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและพลังงานของหน่วยงาน โดยจัดทำเป็นประกาศสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ลงนามโดยผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2566 และนำเข้าที่ประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักวิทยบริการฯ เพื่อแจ้งให้บุคลากรทุกหน่วยงานย่อยภายในทราบและปฏิบัติตามแนวนโยบาย |
1.1 .3 การกำหนดนโยบายสิ่งแวดล้อมจากผู้บริหารระดับสูง (1) การปรับปรุงระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง
(2) การควบคุม ป้องกัน ลดผลกระทบด้านการใช้ทรัพยากร พลังงาน และมลพิษ/ของเสีย รวมไปถึงการจัดซื้อ/จัดจ้าง และบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อนำไปสู่การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (3) การปฏิบัติตามกฎหมายและเกณฑ์การเป็นสำนักงานสีเขียวของกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม (4) การสร้างความรู้และความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมกับผู้เกี่ยวข้อง |
มีการกำหนดนโยบายสิ่งแวดล้อมจากผู้บริหารระดับสูง |
1.1 .4 มีการกำหนดแผนการดำเนินงานสำนักงานสีเขียวประจำปี (1) รายละเอียดของแผนจะต้องระบุการดำเนินงานครบถ้วนทุกหมวด
(2) มีการกำหนดเวลาหรือความถี่ของการดำเนินการของแต่ละหมวด (3) มีการกำหนดแผนดำเนินการเป็นลายลักษณ์อักษร และได้รับการอนุมัติจากผู้บริหาร |
มีการกำหนดแผนในการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว |
1.1 .5 มีการกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดที่ชัดเจน ด้านการใช้ทรัพยากร พลังงาน และของเสีย และปริมาณก๊าซเรือนกระจก (1) การใช้ไฟฟ้า
(2) การใช้น้ำมันเชื้อเพลิง (3) การใช้น้ำ (4) การใช้กระดาษ (5) ปริมาณของเสีย (6) ปริมาณก๊าซเรือนกระจก |
มีการกำหนดนโยบายและเป้าหมายที่ชัดเจนด้านการใช้ทรัพยากร พลังงาน และของเสีย และปริมาณก๊าซเรือนกระจก มีการกำหนดนโยบายและเป้าหมายที่ชัดเจนด้านการใช้ทรัพยากร พลังงาน และของเสีย และปริมาณก๊าซเรือนกระจก |
1.2 คณะทำงานด้านสิ่งแวดล้อม | |
1.2 .1 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ/ทีมงานด้านสิ่งแวดล้อม โดยมีแนวทางดำเนินงาน (1) ผู้บริหารแต่งตั้งคณะกรรมการ/ทีมงานด้านสิ่งแวดล้อมของสำนักงานอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร และลงนามอนุมัติโดยคณะกรรมการ/ทีมงาน จะต้องครอบคลุมทุกหมวด และบุคลากร/ผู้แทนจากทุกฝ่ายในหน่วยงาน
(2) กำหนดอำนาจ บทบาท หน้าที่รับผิดชอบของคณะกรรมการอย่างชัดเจน |
มีการแต่งตั้งคณะกรรมการและคณะทำงานโครงการสำนักงานสีเขียวของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ครอบคลุมทุกหมวด ตามคำสั่งสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ 17/2566 ลงวันที่ 27 มีนาคม 2566 |
1.2 .2 ร้อยละของคณะกรรมการ/ทีมงานด้านสิ่งแวดล้อมที่มีความเข้าใจในบทบาทและหน้าที่ รับผิดชอบประเมินจากการสุ่มสอบถาม (1) ประธาน/หัวหน้า
(2) คณะกรรมการ/ทีมงานทางด้านสิ่งแวดล้อมที่รับผิดชอบทุกหมวด (สามารถมอบหมายให้ผู้ตรวจประเมินแต่ละหมวดสุ่มสอบถามได้) |
คณะกรรมการและคณะทำงานมีความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตนเองตามคำสั่งที่ได้รับมอบหมาย |
1.3 การระบุประเด็นปัญหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม | |
1.3 .1 กิจกรรมทั้งหมดของสำนักงานภายใต้ขอบเขตการขอการรับรองสำนักงานสีเขียวจะต้องได้รับการระบุและประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อม (1) มีการรวบรวมกิจกรรมของสำนักงานครบถ้วน
(2) มีการกำหนดผู้รับผิดชอบเหมาะสมและมีความเข้าใจ (3) ระบุการใช้พลังงาน ทรัพยากร วัตถุดิบ มลพิษและของเสียของแต่ละกิจกรรมจะต้องครบถ้วน (4) ระบุปัญหาสิ่งแวดล้อมทางตรงและทางอ้อมครบถ้วน (5) ระบุปัญหาสิ่งแวดล้อมสภาวะปกติ ผิดปกติและฉุกเฉินครบถ้วน (6) มีการพิจารณากฎหมายสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับปัญหาสิ่งแวดล้อมนั้นๆ อย่างครบถ้วนและถูกต้อง (7) การประเมินเพื่อจัดลำดับความสำคัญของปัญหาสิ่งแวดล้อม (8) มีหลักฐานการกำหนดระยะเวลาในการทบทวน การระบุประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อม การใช้ทรัพยากรและพลังงานอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (9) กรณีมีการปรับแผน/กิจกรรม หรือมีกิจกรรมเพิ่มเติม (เช่น มีแผนที่จะก่อสร้างอาคาร หรือเพิ่มเติมกิจกรรมของสำนักงานในอนาคตอันใกล้ เป็นต้น) จะต้องระบุกิจกรรมดังกล่าวด้วย (ถ้ามี) |
มีการประชุมร่วมกันของคณะกรรมการและคณะทำงาน เพื่อระบุประเด็นปัญหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเพื่อกำหนดกิจกรรมและขอบเขตการขอการรับรองสำนักงานสีเขียวในภาพรวมหน่วยงานที่ตั้งอยู่ภายในอาคาร 15 |
1.3 .2 การวิเคราะห์และแนวทางการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ (1) มีสรุปรายการปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ
(2) กำหนดมาตรการ คู่มือ หรือแนวทางปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ (3) ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสาคัญมีการดำเนินการตามมาตรการ คู่มือ หรือแนวทางการแก้ไขครบถ้วน (4) กำหนดมาตรการคู่มือ/แนวทางปฏิบัติ เพื่อป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดในสภาวะผิดปกติและสภาวะฉุกเฉิน (5) ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดในสภาวะผิดปกติและสภาวะฉุกเฉินมีการดำเนินการตามมาตรการคู่มือ/แนวทางการป้องกันครบถ้วน |
มีการวิเคราะห์ปัญหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหาร่วมกันของคณะทำงาน |
1.4 กฎหมาย และข้อกำหนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง | |
1.4 .1 มีการรวบรวมกฎหมายสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องกับสำนักงาน โดยมีแนวทางการดำเนินงาน (1) ผู้รับผิดชอบมีความเข้าใจในการรวบรวมกฎหมายสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง
(2) จัดทำรายการกฎหมายที่ครอบคลุมปัญหาสิ่งแวดล้อมและบริบทของสำนักงาน (3) สามารถระบุแหล่งที่มาของกฎหมายและข้อกำหนดข้อกำหนดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้ (4) สามารถระบุความเกี่ยวข้องของกฎหมายกับประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อมได้ (5) กฎหมายสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องจะต้องเป็นปัจจุบัน (6) มีการรวบรวมและทบทวนกฎหมายอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง |
มีการมอบหมายให้ผู้รับผิดชอบในการรวบรวมกฎหมายสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง เพื่อกำหนดนโยบายและแนวทางในการดำเนินงานร่วมกันในลำดับต่อไป |
1.4 .2 ประเมินความสอดคล้องของกฎหมายกับการดำเนินงานการจัดการสิ่งแวดล้อมของสำนักงาน (1) ผู้รับผิดชอบมีความเข้าใจในการประเมินความสอดคล้องของกฎหมายกับการดำเนินงานการจัดการสิ่งแวดล้อม
(2) มีการประเมินความสอดคล้องของกฎหมายครบถ้วน (3) มีการอ้างอิงหลักฐานการปฏิบัติตามกฎหมายอย่างครบถ้วนและถูกต้อง กรณีที่พบว่าการดำเนินงานไม่สอดคล้องกับกฎหมาย จะต้องมีการวิเคราะห์สาเหตุและกำหนดแนวทางแก้ไข (ถ้ามี) (4) มีการกำหนดความถี่ในการประเมินความสอดคล้องของกฎหมายอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ที่เหมาะสมและมีการปฏิบัติตามที่กำหนดได้ |
มีการประเมินความสอดคล้องของกฎหมายกับการดำเนินงานการจัดการสิ่งแวดล้อมของหน่วยงาน |
1.5 ข้อมูลก๊าซเรือนกระจก | |
1.5 .1 การเก็บข้อมูลก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมในสำนักงาน (1) ปริมาณการใช้ไฟฟ้า
(2) ปริมาณการใช้เชื้อเพลงสำหรับการเดินทาง (3) ปริมาณการใช้น้ำประปา (4) ปริมาณการใช้กระดาษ (5) ปริมาณการเกิดของเสีย (ผังกลบ) (6) ปริมาณการใช้กระดาษ |
ในปี พ.ศ. 2566 สำนักวิทยบริการฯ มีการเก็บรวบรวมข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้า การใช้น้ำ และการใช้กระดาษ ตลอดทั้งปี พบว่าปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาพรวมจากการใช้ไฟฟ้า น้ำประปา กระดาษ และขยะที่นำไปฝังกลบ เท่ากับ 186.64 ตันเทียบเท่า CO2 ต่อปี โดยมาจากการใช้ไฟฟ้ามากที่สุด เท่ากับ 181.80 ตันเทียบเท่า CO2 |
1.5 .2 ปริมาณก๊าซเรือนกระจกบรรลุเป้าหมาย (1) กรณีบรรลุเป้าหมาย
(2) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (3) กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย (4) มีการวิเคราะห์สาเหตุในกรณีที่ไม่บรรลุเป้าหมาย (5) ปริมาณการใช้กระดาษ (6) มีแนวทางการแก้ไขในกรณีที่ไม่บรรลุเป้าหมาย (7) มีการติดตามผลหลังแก้ไข |
มีการวิเคราะห์หาวิธีการในการลดปริมาณการใช้กระดาษเพื่อลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกภายในหน่วยงาน |
1.5 .3 ร้อยละของพนักงานมีความเข้าใจและการรับรู้ปริมาณก๊าซเรือนกระจกของสำนักงาน โดยจะต้องสอบถาม (1) ความสำคัญของก๊าซเรือนกระจกกับการทำสำนักงานสีเขียว
(2) แนวทางการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (3) ปริมาณก๊าซเรือนกระจกของสำนักงานเมื่อเปรียบเทียบกับค่าเป้าหมาย |
ในปี พ.ศ. 2566 สำนักวิทยบริการฯ ยังได้จัดให้มีการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ เรื่อง “การสื่อสารและสร้างจิตสำนึกพัฒนาสู่สำนักงานสีเขียว (Green Office)” ให้แก่บุคลากร เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2566 โดยมีอาจารย์อนุวัตน์ แสงอ่อน อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์เป็นวิทยากร ซึ่งมีหัวข้อการบรรยายครอบคลุมเรื่องการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก (climate change) และก๊าซเรือนกระจก
1.7 การเก็บข้อมูลก๊าซเรือนกระจก หน่วยงานมีการดำเนินการเรื่องใดบ้าง |
1.6 แผนงานโครงการที่นำไปสู่การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง | |
1.6 .1 การกำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการสิ่งแวดล้อม จะต้องมีการดำเนินการดังนี้ (1) วัตถุประสงค์ เป้าหมาย จะต้องสอดคล้องกับนโยบายสิ่งแวดล้อม หรือปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ หรือกฎหมายสิ่งแวดล้อม
(2) วัตถุประสงค์ เป้าหมาย สามารถวัดผลได้ (3) กิจกรรม/นวัตกรรมที่กำหนดในโครงการสิ่งแวดล้อมมีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และเป้าหมาย (4) ระยะเวลาการทำโครงการมีความเหมาะสม (5) โครงการมีการกำหนดผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน และจะต้องมีความเข้าใจ |
มีการกำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการในการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว และกำหนดผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจนครบทุกหมวด มีการกำหนดแผนการดำเนินกิจกรรมตามโครงการเพื่อให้เสร็จสิ้นและบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนด |
1.6 .2 ผลสำเร็จของวัตถุประสงค์และเป้าหมาย แนวทางการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน (1) มีแผนการดำเนินโครงการหรือนวัตกรรมที่ชัดเจน
(2) ดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้อย่างต่อเนื่อง (3) มีการกำหนดความถี่ในการติดตามผลและปฏิบัติตามอย่างต่อเนื่อง (4) มีการติดตามความก้าวหน้าของโครงการ (5) ดำเนินการเสร็จสิ้นและบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนด / กรณีที่ไม่บรรลุเป้าหมายมีการทบทวนเพื่อหาสาเหตุและแนวทางแก้ไข (6) มีการกำหนดแนวทางเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืนหลังบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนด |
มีการกำหนดนโยบาย แผนการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ตั้งไว้ |
1.7 การตรวจประเมินสำนักงานสีเขียวภายในสำนักงาน (สำหรับหน่วยงานต่ออายุ) | |
1.7 .1 การวางแผนและดำเนินการตรวจประเมินสำนักงานสีเขียวภายในสานักงาน (1) มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินสำนักงานสีเขียวภายในสำนักงานประกอบด้วยหัวหน้าผู้ตรวจประเมินและผู้ตรวจประเมิน ซึ่งจะต้องผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว และหลักสูตรการตรวจประเมินสำนักงานสีเขียว
(2) มีการกำหนดความถี่ในการตรวจประเมินสำนักงานสีเขียวภายในสำนักงานอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง (3) มีการจัดทำกำหนดการตรวจประเมินภายในครอบคลุมทุกหมวด (4) กำหนดผู้ตรวจประเมินภายในแต่ละหมวดมีความเพียงพอและเหมาะสม มีความเป็นอิสระในการตรวจประเมินอย่างชัดเจน (5) การดำเนินการตรวจประเมินสำนักงานสีเขียวภายในสำนักงานครบถ้วนทุกหมวด |
มีการกำหนดแผนงานในการดำเนินกิจกรรมตามโครงการสำนักงานสีเขียวเพื่อยื่นสมัครเข้ารับการประเมิน แต่ยังไม่มีการตรวจประเมินภายในเนื่องจากเป็นช่วงระยะการเริ่มต้นในปีแรก |
1.8 การทบทวนฝ่ายบริหาร | |
1.8 .1 การกำหนดองค์ประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร (1) มีผู้บริหารเข้าร่วมประชุม
(2) มีตัวแทนของแต่ละฝ่าย/แผนก/ส่วนงานที่มีความเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานในแต่ละหมวดเข้าร่วมประชุม (3) จำนวนผู้เข้าร่วมการประชุมจะต้องมากกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนผู้ที่เป็นคณะกรรมการสำนักงานสีเขียว พร้อมหลักฐานการลงนามเข้าร่วมประชุม (4) หากผู้ที่จะต้องเข้าประชุมไม่สามารถเข้าร่วมได้ จะต้องมีวิธีการรายงานผลการประชุมให้รับทราบ พร้อมรับข้อเสนอแนะ |
มีการประชุมทบทวนการดำเนินงานร่วมกัน โดยตัวแทนของคณะทำงานในแต่ละหมวด และรายงานความคืบหน้าในการดำเนินงานต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักวิทยบริการฯ เพื่อรับทราบ |
1.8 .2 มีการกำหนดวาระการประชุม และทำการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร (1) มีการประชุมทบทวนฝ่ายบริหารอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
(2) วาระที่ 1 การติดตามผลการดำเนินงานปรับปรุงระบบฯที่ผ่านมา (3) วาระที่ 2 นโยบายสิ่งแวดล้อม (4) วาระที่ 3 ความมีประสิทธิภาพของคณะกรรมการหรือทีมงานด้านสิ่งแวดล้อม(ความเพียงพอและความเหมาะสม) (5) วาระที่ 4 การติดตามผลการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม การสื่อสารและข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม การปฏิบัติตามกฎหมาย รวมถึงแนวทางการแก้ไขปรับปรุงและพัฒนา (6) วาระที่ 5 การเปลี่ยนแปลงที่จะส่งผลกระทบต่อความสาเร็จในการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม (7) วาระที่ 6 ข้อเสนอแนะจากที่ประชุม และวิสัยทัศน์ แนวคิดของผู้บริหารของการดำเนินงานสำนักงานสีเขียวอย่างต่อเนื่อง (8) จัดทำรายงานการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร และภาพถ่ายที่แสดงให้เห็นว่ามีการประชุมจริง |
มีการรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการสำนักงานสีเขียวต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักวิทยบริการฯ เพื่อรับทราบ และมีการทบทวน ให้คำแนะนำในการดำเนินกิจกรรมผ่านที่ประชุมเพื่อแก้ไขและปรับปรุง |